การอยู่ร่วมกันในสังคมที่ต่างมีความหลากหลายของวัฒนธรรม

  1.  การอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรม โดย อาจารย์ชนากานต์ โสจะยะพันธ์
  2. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรม  ปัจจุบันสังคมไทยเข้าสู่ความเป็นพหุสังคมมากขึ้น การอยู่ร่วมกันของ บุคคลที่มีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี รวมทั้งทัศนคติความเชื่อ อาจนามาซึ่งความไม่เข้าใจกันได้  ดังนั้น การเรียนรู้เพื่อยอมรับในความแตกต่างและความหลากหลายของ สังคมพหุวัฒนธรรมจาเป็นอย่างยิ่งที่คนไทยควรเรียนรู้ เพื่อการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติ
  3. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรม  การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข หมายถึง การที่มนุษย์มาอยู่ร่วมกันเป็น สังคม สามารถปฏิบัติตามกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกันในรูปของกฎระเบียบ หรือกฎหมาย และมีคุณธรรม จริยธรรมในการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน การ มีส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของสังคม เช่น การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การเมืองการปกครอง เคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดงกิริยาและวาจาดู หมิ่นผู้อื่น และการปฏิบัติตามคุณธรรมของการอยู่ร่วมกันตามหลัก ศาสนาที่ตนเองนับถือ จะทาให้ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข
  4. การเคารพกฎเกณฑ์  เป็นหลักการพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันของผู้คนในสังคมโดยปกติสุข ไม่ ว่าจะเป็นสังคมใดหรือประเทศใด การอยู่ร่วมกันของผู้คนเป็นจานวน มากในสังคมต้องอาศัยกฎระเบียบกติกาของสังคม ซึ่งคนในสังคมนั้นๆ จาต้องเรียนรู้กฎกติกาของสังคม พร้อมทั้งต้องมีความรับผิดชอบต่อ สังคมส่วนรวมนั่นคือ ต้องยอมรับและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์กติกาทาง สังคม การอบรมสมาชิกในสังคมให้เกิดการเรียนรู้กฎเกณฑ์และกติกา ของสังคม คือ การถ่ายทอดวิถีชีวิตวัฒนธรรม และการทาให้สมาชิกใน สังคมนั้นสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมถูกต้อง
  5. การเคารพกฎเกณฑ์  ซึ่งในสังคมที่ได้มีการจัดระเบียบอย่างดีแล้วนั้น การอบรมให้เรียนรู้ กฎเกณฑ์ของสังคมเป็นกระบวนการที่จะต้องกระทา เริ่มตั้งแต่วัยเด็ก จนถึงผู้ใหญ่ การเข้าไปมีส่วนร่วมในรูปของสังคมใหม่และสถาบันใหม่ สมาชิกในสังคมก็จะต้องเรียนรู้กฎเกณฑ์ใหม่และยอมรับค่านิยมใหม่ และในขณะ เดียวกันที่พ่อแม่ครอบครัวก็ต้องทาหน้าที่เป็นตัวหลักที่ สาคัญในการเลี้ยงดูเด็ก เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในการเคารพกฎเกณฑ์ของ สังคม เพื่อให้การดารงชีวิตอยู่ของสมาชิกในสังคมได้อยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุข
  6. การเคารพซึ่งกันและกัน  การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองที่มีรัฐธรรมนูญเป็น แม่บทกาหนดกรอบให้ทุกภาคส่วนของสังคมยึดถือและปฏิบัติร่วมกัน โดยกรอบที่สาคัญในการดารงตนอย่างเหมาะสมของประชาชน คือการ ยึดมั่นในสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ตามที่รัฐธรรมนูญกาหนด หาก ประชาชนทุกคนรู้ถึงสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ และต่างปฏิบัติได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ประชาชนในชาติย่อมอยู่ร่วมกัน อย่างมีความสุข และชาติบ้านเมืองก็จะพัฒนาและเจริญก้าวหน้าได้ อย่างรวดเร็ว
  7. การเคารพซึ่งกันและกัน  การปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองและผู้อื่นในสังคม เป็นสิ่งที่ช่วยจัด ระเบียบให้กับสังคมสงบสุข โดยมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. เคารพสิทธิของกันและกัน โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น สามารถแสดงออกได้หลายประการ เช่น การแสดงความคิดเห็น การ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นต้น 2. รู้จักใช้สิทธิของตนเองและแนะนาให้ผู้อื่นรู้จักใช้สิทธิของ ตนเอง
  8. การเคารพซึ่งกันและกัน ผลที่ได้รับจากการปฏิบัติตนเคารพสิทธิขอองตนเองและผู้อื่น 1. ผลที่เกิดกับประเทศชาติ หากประชาชนมีความสมัครสมาน รักใคร่สามัคคี ไม่มีความแตกแยก ไม่แบ่งเป็นพวกเป็นเหล่า บ้านเมืองก็ จะสงบสุขเกิดสวัสดิภาพ บรรยากาศโดยรวมก็จะสดใส ปราศจากการ ระแวงต่อกัน การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆสามารถดาเนินไปอย่างราบรื่น นักลงทุน นักท่องเที่ยวก็จะเดินทางมาเยือนประเทศของเราด้วยความ มั่ น ใ จ
  9. ผลที่เกิดขอึ้นกับชุมชนหรือสังคม เมื่อประชาชนในสังคมรู้จัก สิทธิของตนเอง และของคนอื่น ก็จะทาพาให้ชุมชนหรือสังคมเกิดการ พัฒนา เมื่อสังคมมั่นคงเข้มแข็งก็จะมีส่วนทาให้ประเทศชาติเข้มแข็ง เพราะ ชุมชนหรือสังคมเป็นส่วนหนึ่งของประเทศชาติบ้านเมืองโดยรวม 3. ผลที่เกิดขอึ้นกับครอบครัว ครอบครัวเป็นสถาบันแรกของ สังคม เมื่อครอบครัวเข้มแข็ง และอบรมสั่งสอนให้สมาชิกในครอบครัวทุก คนรู้บทบาท สิทธิ เสรีภาพของตนเองและปฏิบัติตามที่กฎหมายและ รัฐธรรมนูญได้ให้ความคุ้มครองได้อย่างเคร่งครัด โดยไม่ละเมิดสิทธิ เสรีภาพของสมาชิกอื่นในสังคม ก็จะนาพาให้สังคมและประเทศชาติ เข้มแข็งตามไปด้วย การเคารพซึ่งกันและกัน
10.การอยู่ร่วมกันในสังคมที่ต่างมีความหลากหลายของวัฒนธรรม" ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีศาสตร์และศิลป์ในการอยู่ร่วมกันจึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างเป็นสุข


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การเข้าสังคมอยู่ร่วมกัน