บทความ

การอยู่ร่วมกันในสังคมที่ต่างมีความหลากหลายของวัฒนธรรม

 การอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรม โดย อาจารย์ชนากานต์ โสจะยะพันธ์ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรม  ปัจจุบันสังคมไทยเข้าสู่ความเป็นพหุสังคมมากขึ้น การอยู่ร่วมกันของ บุคคลที่มีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี รวมทั้งทัศนคติความเชื่อ อาจนามาซึ่งความไม่เข้าใจกันได้  ดังนั้น การเรียนรู้เพื่อยอมรับในความแตกต่างและความหลากหลายของ สังคมพหุวัฒนธรรมจาเป็นอย่างยิ่งที่คนไทยควรเรียนรู้ เพื่อการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรม  การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข หมายถึง การที่มนุษย์มาอยู่ร่วมกันเป็น สังคม สามารถปฏิบัติตามกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกันในรูปของกฎระเบียบ หรือกฎหมาย และมีคุณธรรม จริยธรรมในการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน การ มีส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของสังคม เช่น การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การเมืองการปกครอง เคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดงกิริยาและวาจาดู หมิ่นผู้อื่น และการปฏิบัติตามคุณธรรมของการอยู่ร่วมกันตามหลัก ศาสนาที่ตนเองนับถือ จะทาให้ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข การเคารพกฎเกณฑ์  เป็นหลักการพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันของผู้คนในสั

การเข้าสังคมอยู่ร่วมกัน

รูปภาพ
วิธีการเข้าสังคมอยู่ร่วมกัน 1.พูดขอบคุณในที่สาธารณะ.  คุณอาจจะเจอคนเดิมๆ ทุกวันแต่ไม่เคยทักทายเขาเลย การจะเป็นคนเข้าสังคมเก่งนั้นสำคัญมากว่าคุณจะต้องเริ่มต้นจากการทักคนรอบตัวคุณให้บ่อยขึ้น  แค่คำชมเล็กๆ น้อยๆ ก็ช่วยได้มากแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นเรื่องของการให้บริการ คุณต้องนึกด้วยว่าพนักงานคิดเงินที่ร้านค้าหรือบาริสต้าเขาให้บริการคนหลายร้อยคนต่อวัน ลูกค้าหลายคนก็อาจจะเฉยชาหรือหยาบคายใส่ ลองพูดว่า "โอ้โห ขอบคุณนะคะที่เอามาให้เร็วเลย" เพื่อแสดงให้เห็นว่าคุณประทับใจในการทำงานของเขา 2. สบตา.  ถ้าคุณกำลังอยู่ในงานสังคมเช่นงานปาร์ตี้ พยายามสบตากับคนอื่นๆ ในงาน พอคุณสบตากับเขาแล้วก็ให้ยิ้มอย่างเป็นมิตรให้เขา ถ้าเขามองคุณตอบ ก็ให้เดินไปหาเขาแล้วแนะนำตัวเอง ถ้าเขายิ้มตอบให้ นั่นก็เป็นสัญญาณที่ดีแล้ว ถ้าเขาทำเฉยๆ ก็ปล่อยเขาไป การเป็นคน "เข้าสังคมเก่ง" กับการเป็น "จอมตื้อ" นั้นไม่เหมือนกัน คุณคงไม่อยากบังคับใจใครให้มาคุยกับคุณหรอกใช่ไหม จำไว้ว่า การเข้าหาคนอื่นแบบนี้ใช้ไม่ได้ในสถานการณ์ที่ผู้คนไม่ได้คาดคิดมาก่อนว่าจะมีค